extrajudicial ใน ภาษาอังกฤษ หมายถึงอะไร

ความหมายของคำว่า extrajudicial ใน ภาษาอังกฤษ คืออะไร บทความอธิบายความหมายแบบเต็ม การออกเสียงพร้อมกับตัวอย่างสองภาษาและคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีใช้ extrajudicial ใน ภาษาอังกฤษ

คำว่า extrajudicial ใน ภาษาอังกฤษ หมายถึง การเนรเทศ, พระราชกฤษฎีกา, การสาปแช่ง, การพิพากษา, คําพิพากษา หากต้องการเรียนรู้เพิ่มเติม โปรดดูรายละเอียดด้านล่าง

ฟังการออกเสียง

ความหมายของคำว่า extrajudicial

การเนรเทศ

พระราชกฤษฎีกา

การสาปแช่ง

การพิพากษา

คําพิพากษา

ดูตัวอย่างเพิ่มเติม

The failure to act against official abuses extended to the police. Despite the Yingluck government’s stated policy that it opposes the violent approach to drug suppression employed by Thaksin, it has not been willing to bring to justice police officers implicated in more than 2,500 unresolved extrajudicial killings and serious abuses committed during the 2003 “war on drugs” and ongoing drug suppression operations.
ความล้มเหลวในการแก้ไขการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่เกิดจากการกระทําของเจ้าหน้าที่ของรัฐยังรวมไปถึงการเอาผิดกับเจ้าหน้าที่ตํารวจ ถึงแม้รัฐบาลยิ่งลักษณ์จะแถลงนโยบายคัดค้านแนวทางการใช้ความรุนแรงปราบปรามยาเสพติดของทักษิณ แต่รัฐบาลนี้กลับไม่เต็มใจที่จะลงโทษตัวเจ้าหน้าที่ตํารวจที่เกี่ยวข้องกับการสังหารนอกกระบวนการยุติธรรมกว่า 2,500 กรณี และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงอื่นๆ ทั้งที่เกิดขึ้นระหว่าง “สงครามยาเสพติด” ในปี 2546 และปฏิบัติการต่อต้านยาเสพติดที่กําลังดําเนินอยู่ในปัจจุบัน
Enforced disappearances are defined under international law as the arrest or detention of a person by state officials or their agents followed by a refusal to acknowledge the deprivation of liberty, or to reveal the person’s fate or whereabouts. Enforced disappearances violate a range of fundamental human rights protected under the International Covenant on Civil and Political Rights (ICCPR), to which Thailand is a party, including prohibitions against arbitrary arrest and detention; torture and other cruel, inhuman, or degrading treatment; and extrajudicial execution. Since 1980, the United Nations Working Group on Enforced or Involuntary Disappearances has recorded 82 cases of enforced disappearance in Thailand. None of these cases have been successfully resolved.
ตามกฎหมายระหว่างประเทศ การบังคับบุคคลให้สูญหายหมายถึงการจับกุมหรือควบคุมตัวบุคคลโดยเจ้าพนักงานของรัฐหรือหน่วยงานที่เป็นตัวแทน และต่อมาได้ปฏิเสธไม่ยอมรับว่ามีการควบคุมตัวดังกล่าว หรือไม่เปิดเผยชะตากรรมหรือที่อยู่ของบุคคล การบังคับบุคคลให้สูญหายละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานนานัปการที่ได้รับการคุ้มครองตามกติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International Covenant on Civil and Political Rights-ICCPR) ซึ่งประเทศไทยเป็นรัฐภาคี รวมทั้งข้อห้ามต่อการจับกุมและควบคุมตัวโดยพลการ การทรมานและการปฏิบัติอื่นๆ ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี และการสังหารนอกกระบวนการกฎหมาย นับแต่ปี 2523 คณะทํางานสหประชาชาติว่าด้วยการบังคับบุคคลให้สูญหายหรือการสูญหายโดยไม่สมัครใจ (UN Working Group on Enforced or Involuntary Disappearances) ได้เก็บข้อมูล 82 กรณีการบังคับบุคคลให้สูญหายที่เกิดขึ้นในประเทศไทย จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการคลี่คลายกรณีใดจนแล้วเสร็จเลย
Enforced disappearance is defined under international law as the arrest or detention of a person by state officials or their agents followed by a refusal to acknowledge the deprivation of liberty, or to reveal the person’s fate or whereabouts. Enforced disappearances violate a range of fundamental human rights protected under international law, including prohibitions against arbitrary arrest and detention; torture and other cruel, inhuman, or degrading treatment; and extrajudicial execution.
การบังคับบุคคลให้สูญหายได้รับการนิยามตามกฎหมายระหว่างประเทศ ว่าหมายถึงการจับกุมหรือควบคุมตัวบุคคลโดยเจ้าพนักงานของรัฐหรือตัวแทน และต่อมามีการปฏิเสธไม่ยอมรับว่ามีการควบคุมตัวบุคคลเช่นนั้น หรือไม่ยอมเปิดเผยชะตากรรมหรือที่อยู่ของบุคคลดังกล่าว การบังคับบุคคลให้สูญหายละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานหลายประการซึ่งได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายระหว่างประเทศ รวมทั้งข้อห้ามต่อการจับกุมหรือควบคุมตัวโดยพลการ การทรมานและการปฏิบัติอื่นๆ ที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือที่ย่ํายีศักดิ์ศรี และการสังหารนอกกระบวนการกฎหมาย
“As political pressure has been put on security forces to defeat the insurgents, the number of ‘disappearances’ and extrajudicial killings has spiked,” said Adams. “The government has to address Somchai’s case and other abuses in the south if it is to succeed in gaining public trust.”
แบรด อาดัมส์ กล่าวว่า “แรงกดดันทางการเมืองที่ต้องการให้เจ้าหน้าที่ตํารวจ และทหารปราบปรามเอาชนะผู้ก่อ ความไม่สงบ เป็นสาเหตุทําให้ปัญหาการทําให้บุคคลสูญหาย และการสังหารที่ผิดกฏหมายเกิดเพิ่มมากขึ้น รัฐบาล จําเป็นจะต้องตอบคําถาม และให้ความยุติธรรมในคดีของทนายสมชาย และปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนอื่นๆ เพื่อที่จะให้ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้เชื่อมั่นไว้วางใจในทางการไทย”
Among the major problems in Thailand in 2011 was a widening crackdown on freedom of expression, Human Rights Watch said. Thai authorities stepped up a campaign to prosecute people holding opinions deemed offensive to the institution of the monarchy, enforced specifically by intensive surveillance of the internet. The authorities made little progress in ensuring accountability for the many deaths and injuries from political violence in 2010. Thousands of extrajudicial killings and other serious abuses over the past decade connected to the government’s national anti-drugs drive and counterinsurgency operations in southern border provinces also remain unresolved.
องค์การฮิวแมนไรท์วอท์ชกล่าวว่า หนึ่งในปัญหาสําคัญในประเทศไทยในปี 2554 คือ การปราบปรามเสรีภาพในการแสดงออกที่ดําเนินไปอย่างวงกว้างมากขึ้น ทางการไทยยกระดับการรณรงค์เพื่อลงโทษประชาชนที่แสดงความคิดเห็นในลักษณะถือว่า ละเมิดสถาบันกษัตริย์ โดยเฉพาะด้วยการอาศัยการสอดส่องทางอินเตอร์เน็ตอย่างเข้มข้น นอกจากนี้ ทางการไทยยังมีความคืบหน้าเพียงเล็กน้อยในการดําเนินการให้เกิดการรับผิดต่อการเสียชีวิต และการบาดเจ็บจํานวนมากที่เกิดขึ้นจากความรุนแรงทางการเมืองในปี 2553 ส่วนการสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม และการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงอื่นๆ จํานวนนับพันรายที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการของรัฐบาลในการต่อต้านยาเสพติด และการต่อต้านการก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้นก็ยังไม่ได้รับการแก้ไข
Human Rights Watch documented numerous extrajudicial killings and other serious human rights violations during then-prime minister Thaksin Shinawatra’s “war on drugs” in 2003 and 2004. Abusive anti-drug operations by the armed forces and police continued across Thailand under successive governments after Thaksin was ousted in a military coup in 2006. Many of those killed were members of ethnic populations in northern provinces who were known to have disputes with local authorities and who had consequently been blacklisted as suspected drug traffickers. Many of them were killed at checkpoints or soon after being summoned to report to local military bases or police stations for questioning.
ฮิวแมนไรท์วอทช์ได้จัดทําข้อมูลวิสามัญฆาตกรรมและการละเมิด สิทธิมนุษยชนที่รุนแรงหลายกรณี ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่าง “สงครามปราบปรามยาเสพติด” ในยุคนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ระหว่างปี 2546 และ 2547 ปฏิบัติการปราบปรามยาเสพติดซึ่งเป็นการปฏิบัติมิชอบของเจ้าหน้าที่ทหารและตํารวจยังคงเกิดขึ้นต่อไปในประเทศไทย ภายใต้รัฐบาลอื่น ๆ ภายหลังรัฐบาลของทักษิณซึ่งถูกยึดอํานาจโดยการทํารัฐประหารของกองทัพเมื่อปี 2549 ผู้ถูกสังหารหลายคนเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดทางภาคเหนือ ซึ่งมักมีข้อพิพาทกับเจ้าหน้าที่ในท้องถิ่น เป็นเหตุให้พวกเขาถูกขึ้นบัญชีดําว่าเป็นผู้ต้องสงสัยในคดีค้ายาเสพติด หลายคนถูกสังหารที่ด่านตรวจ หรือถูกสังหารไม่นานหลังจากกลับจากการถูกเรียกตัวให้ไปรายงานตัวที่ฐานทัพหรือโรงพักในพื้นที่เพื่อสอบปากคํา
Thailand’s security forces have committed serious human rights violations with impunity. No officials, commanders, soldiers, or police have been punished for unlawful killings or other wrongful use of force during the 2010 political confrontations, which left at least 90 dead and more than 2,000 injured. Nor have any security personnel been criminally prosecuted for serious violations of international humanitarian law related to counterinsurgency operations in the southern Pattani, Narathiwat, and Yala provinces, where separatist insurgents have also committed numerous abuses. Successive Thai governments have shown no interest in investigating more than 2,000 extrajudicial killings related to former Prime Minister Thaksin Shinawatra’s “war on drugs” in 2003.
กองกําลังความมั่นคงของไทยยังคงกระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างร้ายแรงโดยไม่ต้องรับผิด ที่ผ่านมาไม่มีการลงโทษเจ้าหน้าที่ ผู้บังคับบัญชา ทหาร หรือตํารวจ เนื่องจากการสังหารอย่างไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเนื่องจากการใช้กําลังอย่างไม่ถูกต้อง ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างการเผชิญหน้าทางการเมืองเมื่อปี 2553 ซึ่งส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 90 คนและบาดเจ็บกว่า 2,000 คน ทั้งยังไม่เคยมีการฟ้องคดีอาญาต่อเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง เนื่องจากการละเมิดอย่างร้ายแรงต่อกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ ในระหว่างปฏิบัติการปราบปรามการก่อความไม่สงบในภาคใต้ ในจังหวัดปัตตานี นราธิวาส และยะลา ซึ่งกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบและแบ่งแยกดินแดนได้ปฏิบัติมิชอบในหลากหลายรูปแบบเช่นกัน รัฐบาลที่ผ่าน ๆ มาของไทยไม่ได้แสดงความสนใจที่จะสอบสวนการสังหารนอกกระบวนการกฎหมายกว่า 2,000 ครั้งที่เกิดขึ้นในช่วง “สงครามปราบปรามยาเสพติด” ของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร เมื่อปี 2546

มาเรียนกันเถอะ ภาษาอังกฤษ

ตอนนี้เมื่อคุณรู้ความหมายของ extrajudicial ใน ภาษาอังกฤษ มากขึ้นแล้ว คุณจะได้เรียนรู้วิธีใช้คำเหล่านี้ผ่านตัวอย่างที่เลือกไว้และวิธี อ่านแล้วอย่าลืมเรียนรู้คำที่เกี่ยวข้องที่เราแนะนำ เว็บไซต์ของเรามีการปรับปรุงคำศัพท์ใหม่ๆ และตัวอย่างใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา เพื่อให้คุณสามารถค้นหาความหมายของคำอื่นๆ ที่คุณไม่ทราบใน ภาษาอังกฤษ

อัปเดตคำของ ภาษาอังกฤษ

คุณรู้จัก ภาษาอังกฤษ ไหม

ภาษาอังกฤษมาจากชนเผ่าดั้งเดิมที่อพยพไปยังอังกฤษและมีวิวัฒนาการมาเป็นเวลากว่า 1,400 ปี ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่พูดมากเป็นอันดับสามของโลก รองจากจีนและสเปน เป็นภาษาที่สองที่มีการเรียนรู้มากที่สุด และภาษาราชการของเกือบ 60 ประเทศอธิปไตย ภาษานี้มีจำนวนผู้พูดเป็นภาษาที่สองและภาษาต่างประเทศมากกว่าเจ้าของภาษา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการร่วมของสหประชาชาติ สหภาพยุโรป และภาษาต่างประเทศอื่น ๆ อีกมากมาย และองค์กรระดับภูมิภาค ปัจจุบัน ผู้พูดภาษาอังกฤษทั่วโลกสามารถสื่อสารกันได้อย่างคล่องตัว